ครม. ปรับเงื่อนไข ประกันรายได้มันสำปะหลัง ปี 63/64 ช่วยเกษตรกรที่ไม่เข้าเกณฑ์

ครม. ปรับเงื่อนไข ประกันรายได้มันสำปะหลัง ปี 63/64 ช่วยเกษตรกรที่ไม่เข้าเกณฑ์

ครม. เห็นชอบในการปรับเงื่อนไข ประกันรายได้มันสำปะหลัง ปี 63/64 เพื่อช่วยเกษตรกรที่ไม่เข้าเกณฑ์ 1.2 แสนครัวเรือน ให้ได้รับเงินชดเชย ประกันรายได้มันสำปะหลัง ปี 63/64 – (10 พ.ค. 2565) นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2565 ว่า ครม.เห็นชอบปรับเงื่อนไขโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง ปี2563/2564 ตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ

ซึ่งเป็นการทบทวนมติเดิมเมื่อ 25 ตุลาคม 2564 

โดยให้สิทธิเกษตรกรกลุ่มที่แจ้งปลูกมันสำปะหลังตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 – 31 มีนาคม 2563 (จากเดิมที่ต้องแจ้งปลูกตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย.2563 เป็นต้นไป) และมีช่วงเก็บเกี่ยวตั้งแต่ 8-12 เดือน และไม่ซ้ำแปลง ที่มีสิทธิตามโครงการประกันรายได้ฯ ปี 2563/2564 (จากเดิม กำหนดต้องไม่เคยได้รับสิทธิในโครงการประกันรายได้ ปี 2562/2563)

ทำให้มีเกษตรกรได้รับสิทธิตามโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง ปี2563/2564 จากเงื่อนไขใหม่นี้เพิ่มขึ้น 120,148 ครัวเรือน จากเดิม 84,186 ครัวเรือน รวมเกษตรกรที่ได้รับสิทธิทั้งสิ้น 204,334 ครัวเรือน โดยใช้วงเงินชดเชย 1,191.18 ล้านบาท ภายใต้งบประมาณโครงการเดิมตามที่ ครม. อนุมัติไว้แล้ว

นางสาวรัชดากล่าวด้วยว่า ที่ประชุมรับทราบผลการดำเนินโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง ปี2563/2564 ซึ่งได้จ่ายเงินชดเชยเกษตรกรไปแล้วรวม 3,652.15 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.16 ของวงเงินชดเชยทั้งหมด 9,570.96 ล้านบาท

ส่วนโครงการปี 2564/2565 ยังไม่มีการจ่ายเงินชดเชยให้เกษตรกรทั้ง 6 งวด เนื่องจากราคาอ้างอิง 2.6 – 2.74 บาท/กิโลกรัม สูงกว่าราคาประกันรายได้ที่ 2.5 บาท/กิโลกรัม

จบไปแล้วนะคะกับการพาไปรู้จัก ออมสิน ปล่อยสินเชื่อ ล่าสุด นั่นก็คือ สินเชื่อโครงการธนาคารประชาชน  ตัวเลือกดี ๆ ของคนที่ต้องการเงินหมุนเวียน สำหรับคนที่สนใจสินเชื่อนี้ สามารถยื่นขอสินเชื่อได้ที่ธนาคารออมสินสาขาใกล้บ้าน ซึ่งจะอนุมัติกี่วันนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน ต้องติดตามผลด้วยตนเอง ส่วนคราวหน้า The Thaiger จะมีข้อมูลทางการเงินดี ๆ อะไรมาฝากอีกบ้าง ก็ต้องรอติดตามกันด้วยนะ

หน่วยงานที่ตรวจสอบ : สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

ประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กรุงไทย

ประโยชน์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับนายจ้าง

เพิ่มแรงจูงใจให้กับพนักงานในการทำงาน

เป็นสวัสดิการที่ดีให้กับพนักงาน

นายจ้างได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี จากเงินสมทบที่จ่ายเข้ากองทุน โดยสามารถนำไปหักเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทได้

ประโยชน์สำหรับลูกจ้าง / พนักงาน ที่เป็นสมาชิกกองทุน

– เสมือนได้รับค่าจ้างเพิ่มขึ้นจากเงินสมทบที่นายจ้างจ่ายให้

– เป็นสวัสดิการเงินได้ที่เพิ่มขึ้นเมื่อออกจากงานหรือเกษียณอายุ

– เป็นหลักประกันให้กับชีวิตและครอบครัวกรณีทุพพลภาพหรือเสียชีวิต

– เงินกองทุนได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย ทั้งนี้เมื่อสมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพทุกกรณี จะได้รับเงินสะสม และผลประโยชน์เงินสะสมเต็มจำนวน และอยู่นอกเหนือเหตุแห่งการบังคับคดีทั้งปวง

– เป็นโอกาสออมเงินให้กับตนเองและครอบครัว

– เงินออมอยู่ภายใต้การบริหารของมืออาชีพ

– สามารถนำเงินสะสมไปลดหย่อนภาษีเงินได้ประจำปี

– รายได้จากการลงทุนได้รับการยกเว้นไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย

– เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ เงินได้ที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสามารถนำไปลดหย่อน หรือยกเว้นภาษีเงินได้ ตามเหตุของการสิ้นสุดสมาชิกภาพ เช่น ลาออกจากงานโดย ณ วันที่ลาออกมีอายุงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป จะได้รับสิทธิ์ในการลดหย่อนภาษี หากไม่ถึง 5 ปีก็อาจไม่ได้รับสิทธิ์ส่วนนี้ หรือกรณีลาออกจากงานเมื่ออายุตัว 55 ปี บริบูรณ์ และเป็นสมาชิกกองทุนมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี จะได้รับการยกเว้นภาษีทั้งจำนวน เป็นต้น

หากสนใจสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ smarttrade.ktam.co.th หรือโทร 0-2686-6100 กด 9 ต่างจังหวัดโทรฟรี 1-800-295-592

Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป